24 กรกฎาคม 2010 thumb ธรรมแห่งจิตเที่ยงตรง

ไม่ว่าสภาพการณ์ที่เราพบพานจะเป็นเช่นไร? เกิด ตาย ทุกข์ สุข จิตดวงนี้ต้องสงบ ต้องธำรงความสำนึกคุณ อย่าได้มีอคติเห็นผิด หรือระทมทุกข์และโกรธแค้น เช่นนี้จึงจะได้ความอิสระไร้พันธนาการ

เมื่อเข้าใจในการเกิด ก็จะรู้วินิจฉัยในชีวิต
เมื่อเข้าใจในการตาย ก็จะมีชีวิตที่พรั่งพร้อมสมบูรณ์
เมื่อเข้าใจในความทุกข์ ก็จะรู้เข้มแข็งอดทน
เมื่อเข้าใจในความสุข ก็จะรู้มุมานะบากบั่น
เมื่อใจมีอคติ ก็จะสูญเสียความสมดุล
เมื่อใจมีความอาฆาตพยาบาท หลักธรรมที่กล่าวก็จะผิดเพี้ยน

ที่มา : วจนะแห่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์

เรื่องอื่นที่น่าสนใจ :

  • ข้อบกพร่องแห่งการกระทำจะต้องลงแรงเปลี่ยนแปลงจากใจ อย่าให้ได้ คืบคลานยืดยาดเป็นภัยต่อเราอีกต่อไป ข้อที่1. สับสน ปากไวใจร้อน รีบพูด รีบทำ ใจรนกลัดกลุ่ม บัลดาลโทสะง่าย ข้อที่2. ดูแคลน พูดช ...

  • ธาตุทั้ง 5 ต่างมีมุมกลับอีกด้านที่สวนกัน เราควรทำความเข้าใจให้ถ่องแท้และควบคุมให้พอเหมาะ เพื่อให้สำแดงด้านดีหลีกเลี่ยงด้านลบ ธาตุไม้ ด้านบวก เมตตา กรุณาใจกว้างอารีเป็นคุณสมบัติของเมตตา ...

  • โจร ทำลายกายใจโดยไม่มีที่สิ้นสุด หากไม่รู้ตื่นแล้วยังคิดว่านั่นเป็นการเสพสุข ก็เท่ากับไม่รู้ว่าไฟได้ไหม้ถึงคิ้วแล้ว ติดตามเราอยู่ทุกขณะเวลา ข้อที่  1.   สุรา อยู่ใกล้สุรา มีหรือจะไม่มีความผิดบาป ...

  • ใจคือจุดก่อเกิดกำเนิดหมื่นธรรมขันธ์ จึงควรที่จะเรียนรู้ต่อการทำในสิ่งที่มีคุณประโยชน์ ก็จะได้รับผลลัพธ์ที่ดี ข้อที่ 1. ญาณแห่งใจ รู้ว่าคำพูดใดจริงเท็จ รู้เจตนาว่าดีหรือชั่ว รู้ว่าเรื่อง ...

  • ใจคือที่มาของกรรมดีและกรรมชั่ว ดูเหมือนว่ากายจะเป็นผู้ได้รับทุกข์ทรมาน แต่แท้ที่จริงแล้วธรรมญาณต่างหากที่เป็นผู้ได้รับผลทั้งหมด เมื่อใจและกายบำเพ็ญบุญ ธรรมญาณจักได้วามสุขสงบ เมื่อใจและกายสร้างค ...

26 views

Leave a Reply