คนทั่วไปคิดว่าอะไรก็ตามหากมีมากได้เป็นดี แต่ไม่เข้าใจว่าแท้จริงแล้วจะต้องคอยระวังอยู่เสมอ อย่าปล่อยให้มากเกินเลยขอบเขต เพราะนั่นจะกลับกลายเป็นการทำลายกายและใจแทน
- ครุ่นคิดมากไป อันตรายต่อวิญญาณธาตุ
- คำนึงมากไป ปณิธานจะสั่นคลอน
- ตัณหาความอยากมากไป จะทำลายพลังธาตุ
- งานมากไป ใจจะรู้สึกกดดัน
- พูดมากไป พลังธาตุจะอ่อน
- หัวเราะมากไป ทำลายอวัยวะภายใน
- กลัดกลุ้มมากไป โลหิตจะแตกซ่าน
- สุขมากไป ธาตุจะแตก
- ยินดีมากไป ญาณจะสับสน
- โมโหมากไป ชีพจรจะไม่ปรกติ
- อยากรู้อยากเห็นมากไป จะเลอะเลือนไม่มีหลัก
- ร้ายมากไป จะซูบผอมไร้ความสุข
ที่มา : คัมภีร์ไท่ซั่งซันสือลิ่วปู้จูนจิง
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ :
ไม่ฆ่า ไม่ลักขโมย ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่มุสา ไม่ดื่มของมึนเมา เป็นการบ่มเพาะและรักษาในศิล 5ให้งดงาม เมื่อมีเมตตาธรรม ก็จะไม่ฆ่า เมื่อมีมโนธรรม ก็จะไม่ลักขโมย เมื่อมีจริยาธรรม ก็จะ ...
กังวล หวาดกลัว ยินดี โมโห ครุ่นคิด โศกเศร้า จะต้องปรับให้สมดุล จึงจะไม่ทำลายกายใจ เผ็ด เปรี้ยว หวาน ขม เค็ม รสชาดทั้ง 5 นี้จะต้องให้พอเหมาะจึงจะสามารถรักษาสุขภาพได้ 1. ความกังวลทำลายปอด ควา ...
รดชาดทั้ง 5 สามารถปรุงปรับให้สมดุลกับร่างกาย โดยเฉพาะการดื่มกินในชีวิตประจำวัน อย่าเพราะความอยากแล้วทำให้รดชาดทั้ง 5 ขาดความสมดุล จะกลายเป็นทำลายร่างกายแทน เค็มจัด... มีผลต่อเลือด กินเค็มมา ...
เมื่อเลือด กล้ามเนื้อ กระดูก ข้อต่อ ธาตุ กาย สู้รบบาดเจ็บจะทำให้เราไม่รู้สึกสบายกายและใจ ดังนั้น ควรระมัดระวังตัว ความเคยชิน อย่าปล่อยให้เหตุเหล่านี้เป็นที่มาของการทำลายกายใจ เพ่งมากเก ...
พระวจนะแห่งพระพุทธจี้กง : คุณธรรม คือ บารมี หากต้องการประสบผลสำเร็จในขณะปฏิบัติงาน จะต้องลงแรงในคุณธรรมทั้ง 8 นี้ การนำพาจัดการเรื่องราวต่าง ๆ จึงก่อเกิดความสมบูรณ์ และผลสำเร็จ ข้อที่ 1. กตัญญ ...
111 views