โรคภัยที่เกิดขึ้นกับกาย ใจ ธรรมญาณล้วนไม่เหมือนกัน วิธีการรักษาก็ย่อมที่จะแตกต่างกันไป จะต้องจัดยาให้ถูกกับโรค ยาที่ให้ไปจึงจะมีประสิทธิภาพในการรักษา
ระวังเรื่องการกินดื่ม หลีกเลี่ยงอากาศที่แปรปรวน เพื่อป้องกันโรคทางกาย
เบาบางในตัณหาความอยาก เพื่อป้องกันโรคทางใจ
ลดความกลัดกลุ้ม สำรวมรักษาศีล ไม่โลภไม่โกรธ เพื่อป้องกันโรคทางธรรมญาณ
ความเคยชินที่ไม่ดีทางกาย ต้องเปลี่ยนแปลง
ตัณหาความอยากทางใจ ต้องขจัดให้หมดไป
พิษญาณใจสาม (โลภโกรธหลง) ต้องทำลายให้สิ้นซาก
ที่มา : วจนะแห่งพระพุทธะจี้กง
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ :
ความกลัดกลุ้ม.. ทำให้เราวุ่นวายจนแทบไม่ลืมหูลืมตา ทรมานกายใจจนไม่อาจทานทน เมื่อกายสังขารทรุดโทรมอ่อนแอ ชีวิตก็จะสิ้นลง ความร้อนรน... ทำให้งานที่ทำไม่อาจลุล่วงถึงผลสำเร็จอันสูงสุด ก็เท่ากับเป็นกา ...
ธาตุทั้ง 5 ต่างมีมุมกลับอีกด้านที่สวนกัน เราควรทำความเข้าใจให้ถ่องแท้และควบคุมให้พอเหมาะ เพื่อให้สำแดงด้านดีหลีกเลี่ยงด้านลบ ธาตุไม้ ด้านบวก เมตตา กรุณาใจกว้างอารีเป็นคุณสมบัติของเมตตา ...
โจร ทำลายกายใจโดยไม่มีที่สิ้นสุด หากไม่รู้ตื่นแล้วยังคิดว่านั่นเป็นการเสพสุข ก็เท่ากับไม่รู้ว่าไฟได้ไหม้ถึงคิ้วแล้ว ติดตามเราอยู่ทุกขณะเวลา ข้อที่ 1. สุรา อยู่ใกล้สุรา มีหรือจะไม่มีความผิดบาป ...
ใจคือจุดก่อเกิดกำเนิดหมื่นธรรมขันธ์ จึงควรที่จะเรียนรู้ต่อการทำในสิ่งที่มีคุณประโยชน์ ก็จะได้รับผลลัพธ์ที่ดี ข้อที่ 1. ญาณแห่งใจ รู้ว่าคำพูดใดจริงเท็จ รู้เจตนาว่าดีหรือชั่ว รู้ว่าเรื่อง ...
ข้อบกพร่องแห่งการกระทำจะต้องลงแรงเปลี่ยนแปลงจากใจ อย่าให้ได้ คืบคลานยืดยาดเป็นภัยต่อเราอีกต่อไป ข้อที่1. สับสน ปากไวใจร้อน รีบพูด รีบทำ ใจรนกลัดกลุ่ม บัลดาลโทสะง่าย ข้อที่2. ดูแคลน พูดช ...