กังวล หวาดกลัว ยินดี โมโห ครุ่นคิด โศกเศร้า จะต้องปรับให้สมดุล จึงจะไม่ทำลายกายใจ เผ็ด เปรี้ยว หวาน ขม เค็ม รสชาดทั้ง 5 นี้จะต้องให้พอเหมาะจึงจะสามารถรักษาสุขภาพได้
1. ความกังวลทำลายปอด ความยินดีสยบกังวล
2. ความหวาดกลัวทำลายไต การพิจารณาสยบความหวาดกลัว
3. ความยินดีทำลายหัวใจ ความหวาดกลัวสยบความยินดี
4. โทสะทำลายตับ ความโศกเศร้าสยบโทสะ
5. ความชื้นทำลายผิวหนัง ลมสยบชื้น
6. ความครุ่นคิดทำลายสมอง โทสะสยบความครุ่นคิด
7. ลมทำลายกล้ามเนื้อ ความแห้งสยบลม
8. รสเปรี้ยวทำลายเอ็น รสเผ็ดสยบรสเปรี้ยว
9. รสหวานทำลายผิวพรรณ รสเปรี้ยวสยบรสหวาน
10. รสขมทำลายธาตุ รสเค็มสยบรสขม
11. รสเค็มทำลายเลือด รสหวานสยบรสเค็ม
ที่มา : หวางตี้เน่ยจิงซู่เวิ่น
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ :
คนทั่วไปคิดว่าอะไรก็ตามหากมีมากได้เป็นดี แต่ไม่เข้าใจว่าแท้จริงแล้วจะต้องคอยระวังอยู่เสมอ อย่าปล่อยให้มากเกินเลยขอบเขต เพราะนั่นจะกลับกลายเป็นการทำลายกายและใจแทน ครุ่นคิดมากไป อันตรายต่อวิญญ ...
รดชาดทั้ง 5 สามารถปรุงปรับให้สมดุลกับร่างกาย โดยเฉพาะการดื่มกินในชีวิตประจำวัน อย่าเพราะความอยากแล้วทำให้รดชาดทั้ง 5 ขาดความสมดุล จะกลายเป็นทำลายร่างกายแทน เค็มจัด... มีผลต่อเลือด กินเค็มมา ...
เมื่อเลือด กล้ามเนื้อ กระดูก ข้อต่อ ธาตุ กาย สู้รบบาดเจ็บจะทำให้เราไม่รู้สึกสบายกายและใจ ดังนั้น ควรระมัดระวังตัว ความเคยชิน อย่าปล่อยให้เหตุเหล่านี้เป็นที่มาของการทำลายกายใจ เพ่งมากเก ...
พ่อแม่ พี่น้อง สามีภรรยา คือองค์ประกอบพื้นฐานของชีวิตครอบครัวจต้องสรรสร้างให้มั่นคงและเข็มแข็ง ญาติสนิทจืดกว่าญาติห่างควรหนุนนำรักใคร่ต่อกัน งานฝีมือ ซื้อขาย เพาะปลูก คืองานของชีวิตจะต้องบ ...
พระวจนะแห่งพระพุทธจี้กง : คุณธรรม คือ บารมี หากต้องการประสบผลสำเร็จในขณะปฏิบัติงาน จะต้องลงแรงในคุณธรรมทั้ง 8 นี้ การนำพาจัดการเรื่องราวต่าง ๆ จึงก่อเกิดความสมบูรณ์ และผลสำเร็จ ข้อที่ 1. กตัญญ ...