24 กรกฎาคม 2010 thumb ภัยทั้ง 5 ของความตระกะ

การบริโภคได้มากมิใช่วาสนา แต่สิ่งที่สำคัญคือการทานในสิ่งที่มีคุณประโยชน์ต่อร่างกายต่างหาก พึงหมั่นฝึกขับถ่ายให้เป็นเวลา มิเช่นนั้น สิ่งที่ทานลงไปจะกลายเป็นพิษที่มีผลทำลายศักยภาพของร่างกาย ดังนั้น ทานให้พอดีอิ่มจึงน่าจะเหมาะที่สุด

ข้อที่1. อุจระบ่อย
ข้อที่2. ปัสวะบ่อย
ข้อที่3. นอนไม่หลับ
ข้อที่4. อ้วน
ข้อที่5. ย่อยไม่ทัน

ที่มา : ท่านเอ๋าอิง (ตงกู่จุ้ยเอี๋ยน)แห่งยุคสมัยหมิง

เรื่องอื่นที่น่าสนใจ :

  • หากสามารถทำการใดโดยไม่กล่าวโทษหรือพร่ำบ่น ใจก็จะจริงใจอภัยใจกว้าง แน่นอนว่าจะต้องสุขกายสบายใจเป็นแน่แท้ ข้อที่1. เมื่อมีความศรัทธาจริงใจ ก็จะไม่เสียใจภายหลัง ข้อที่2. เมื่อมีจิตคิดให้อภัย ก็จ ...

  • หากสามารถนำคติธรรม8ข้อนี้มาคอยเตือนตนเอง ก็จะสามารถขจัดความกลักกลุ้มที่มีอยู่ และจะพบกับชีวิตที่เป็นอิสระ ข้อที่1. ไม่โมโห ข้อที่2. ไม่กล่าวคำหยาบโลน ข้อที่3. ไม่ห่างจากรอยยิ้ม ข้อที่4. อย ...

  • ด้วยเหตุที่มีมากเกินไป จึงเป็นเหตุที่มาดังว่าล้นเอ่อจนเกิดอุทกภัย จึงต้องคอยควบคุมให้พอเหมาะ และก็ด้วยเพราะเหตุขอการไม่รู้จักพอแล้วเป็นเหตุของการทำลายตนเอง จึงต้องให้กำลังใจตนเองเพื่อให้บรรลุถึง ...

  • ความรู้สึกแม้จะเป็นจุดกำเนิดของพลังงานต่างๆ แต่หากความรู้สึกนั้นเป็นความรู้สึกไม่ดี ก็จะกลายเป็นพลังที่ทำลายร่างกายแทน ดังนั้น จึงต้องคอยควบคุมอารมณ์ไว้ให้ดี ข้อที่1. เมื่อโกรธ ความรู้สึกจะพรุ่ง ...

  • ศีล 8 หากไม่รักษา จะทำให้เราเสียหน้าอยู่เป็นนิจ ทำให้ใจกายไม่สบาย เกิดความขุ่นข้องหมองใจ และนั่นอาจเป็นที่มาของกรรมฆ่า จึงพึงระวังให้จงดี ข้อที่1. อย่าได้เป็นคนคุยโตโอ้อวด ข้อที่2. อย่าได้เป็น ...

92 views

Leave a Reply